หลังจากทางสมาคมผู้จัดพิมพ์และจัดจำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย (PUBAT) ได้ประกาศจัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ตั้งแต่วันที่ 17 – 25 เมษายน แต่แล้วการระบาดของ COVID-19 รอบสามก็เกิดขึ้น และทำให้งานหนังสือในครั้งนี้ต้องเลื่อนไปอย่างทันที
เราไปคุยกับเหล่าบรรณาธิการ ถึงสถานการณ์ในห้วงเวลานี้ รวมไปถึงการซัพพอร์ตและความช่วยเหลือจากรัฐว่ามีอะไรบ้าง และท้ายที่สุดพวกเขามองอนาคตตัวเองกันยังไง
ร่วมพูดคุยที่มาที่ไปของวรรณกรรมราคาประหยัด ในรายการคิดระหว่างบรรทัด FM96.5
เหตุผลที่ becommon สนใจจับเข่าคุยกับบรรณาธิการสำนักพิมพ์ขนาดเล็ก 5 แห่ง เพราะเกิดความสงสัยเป็นนักหนาว่าอะไรทำให้คนรักหนังสือในแต่ละยุคสมัย ยอมแลกแรงกายแรงใจทุ่มทุนก่อร่างสร้างสำนักพิมพ์ของตัวเองขึ้นมา
ทั้งๆ ที่สื่อสิ่งพิมพ์ถูกปรามาสว่า ได้ตายจากโลกนี้ไปแล้ว แต่ยิ่งวันก็ยิ่งมีสำนักพิมพ์ขนาดเล็กทยอยเกิดใหม่อย่างต่อเนื่อง
ไม่เกินจริงแต่อย่างใด ที่วลี ‘รู้ว่าเสี่ยง แต่คงต้องขอลอง’ ยังดูมีโอกาสและหนทางมากกว่าจะนำมาใช้กับธุรกิจนี้เสียด้วยซ้ำ
มีผู้กล่าวว่า วรรณกรรมของ ‘ฟรันซ์ คาฟคา’ ต้องการการตีความทุกอย่าง ทีนี้ทำอย่างไรถึงจะเข้าใจ?
การจะเข้าใจเขา เราต้องเข้าใจปูมหลังของเขา ไม่ว่าด้านเชื้อชาติ ศาสนา ความรัก หรือชีวิตส่วนตัวของเขา...
การสื่อสารให้ปกหนังสือดูเป็นมิตร ร่วมสมัย น่าหยิบจับ นิสัยรักการอ่านเลยดูเหมือนจะมีส่วนสำคัญในการประกอบอาชีพไม่น้อย ... การออกแบบปกมันอธิบายยากเหมือนกันว่าวิธีการมันทำอย่างไร เพราะบางครั้งก็ใช้วิธีการจับเซนส์แล้วแสดงออกมา ผ่านภาพ ตัวอักษร คู่สี ทั้งหมดมันคือการตีความ ซึ่งก็อาศัยทักษะการอ่านที่สะสมมา
รวมเรื่องสั้น “เนินนางวีนัส” (Delta of Venus) โดย อนาอิส นินจะกระชากความหลงลืมจนขาดวิ่น จากนั้น และจากนั้น จะทำให้คุณดำดิ่งสู่ท่วงทำนองแห่งรักอย่างมีศิลปะและเปิดเผย แค่ได้ยินคำว่า ‘อีโรติก’ ผู้เคร่งศีลธรรมก็อาจถึงกับขนลุกขนพอง...ด้วยอารมณ์ใดมิทราบได้
ถ้าถามว่าใครกันที่หาญกล้านำเข้างานสีดำมายังกลางผืนผ้าใบสีขาวเช่นนี้...
คนที่รู้จักโฟล์คเนอร์รู้ดีว่างานของเขาวนเวียนอยู่กับบรรยากาศทางตอนใต้ของอเมริกาโดยเฉพาะในรัฐมิสซิสซิปปีบ้านเกิดของเขา ดังนั้น การอ่านงานโฟล์คเนอร์โดยชาวอเมริกันย่อมได้ประโยชน์อย่างน้อยก็ได้เรียนประวัติศาสตร์ผ่านวรรณกรรมแต่กับโลกของนักอ่านไทย ทำไมถึงควรอ่านโฟล์คเนอร์ ในเมื่อเราไม่ได้มีประวัติศาสตร์ร่วมกับชาวอเมริกัน...
การเรียนรู้โลกเป็นสิ่งที่เราทุกคนทำอยู่เสมอ แม้จะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม และในการเรียนรู้นั้นอุปสรรคใหญ่ก็คือ ‘ภาษา’ เราจึงมีนักแปลเกิดขึ้น โดยเฉพาะนักแปลหนังสือ บทสัมภาษณ์ทางไกลนี้ ทำให้เรารู้ถึงกระบวนการการทำงาน ความคิด และอารมณ์ของนักแปลนาม ‘สุนันทา วรรณสินธ์ เบล’